ประวัติสมาคมพัฒนาศักยภาพมนุษย์และจิตบำบัดแนวซาเทียร์

 

ประวัติของการเรียนการสอนเกี่ยวกับ Satir Model ในประเทศไทยนั้น เท่าที่สืบค้นได้คือลูกศิษย์ของ Virginir Satir ท่านแรกที่เคยเข้ามาสอนในประเทศไทยคืออาจารย์ Bunny S Duhl และมีอาจารย์เข้ามาสอนให้กับอาจารย์มหาวิทยาลัยรามคำแหงเมื่อตั้งแต่ พ.ศ. 2536 โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เชิญอาจารย์ Maria Gomori มาสอน Family Counseling and Therapyในพ.ศ. 2540 แต่ Model นี้ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายนัก ต่อมา พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์ ได้ไปอบรมเกี่ยวกับ Satir Therapy ที่ประเทศฮ่องกงหลายครั้ง จนกระทั่งได้คุ้นเคยกับอาจารย์ Dr. John Banmen จนอาจารย์เสนอตัวที่จะมาสอนที่ประเทศไทยโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย 1 ครั้งในปี พ.ศ.2542 ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์ ได้ได้แนะนำ ศ. พญ.นงพงา ลิ้มสุวรรณ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งประธานวิชาการของราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ว่าควรจะมีการสอนให้กับจิตแพทย์ด้วย จึงมีการร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ในการเชิญ Dr. John Banmen มาสอนอีกหลายครั้ง ทำให้ทีมหลักที่มีความสนใจใน Satir Model เป็นพิเศษได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการอบรม Train the Trainner ครั้งแรก วันที่ 25 - 29 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้เข้ารับการอบรมรุ่นแรกคือ

1. ศ. พญ. นงพงา ลิ้มสุวรรณ
2. ศ. พญ. อุมาพร ตรังคสมบัติ
3. ศ. นพ. ธนา นิลชัยโกวิทย์
4. นพ. ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล
5. ศ. นพ. มาโนช หล่อตระกูล
6. พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์
7. รศ. พญ. รัตนา สายพาณิชย์
8. รศ. พญ. ศิริรัตน์ คุปติวุฒิ
9. รศ. พญ. นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล
10. อ. พญ. ปริชวัน จันทร์ศิริ
11. พญ. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์
12. นาง ทัศนีย์ ตันทวีวงศ์
13. นางสาว สุจิตรา อุสาหะ

อาจารย์ Dr. John Banmen ได้มาสอน Satir Model ในประเทศไทยอย่างสม่ำเสมอเกือบทุกปี โดยมีศ. พญ.นงพงา ลิ้มสุวรรณ และ พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์ เป็นหลักในการผลักดัน โดยมีการสนับสนุนจากผู้บริหารกรมสุขภาพจิตในยุคนั้นคือ นพ.อภิชัย มงคล อธิบดีกรมสุขภาพจิตในขณะนั้น และ ผู้อำนวนการโรงพยาบาลศรีธัญญาในช่วงนั้น (นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ และ นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต) ในช่วงหลังอาจารย์ Dr. John Banmen ได้พาภรรยาคืออาจารย์ Kathlyne Maki Banmen มาร่วมสอนในปี 2548 และท่านได้กลายเป็นผู้สอนหลักตั้งแต่นั้นมา

การก่อตั้งสมาคม

อาจารย์ Dr. John Banmen ได้แนะนำให้นักเรียนชาวไทยที่เป็นแกนนำและมีประสบการณ์มากพอเริ่มสอนในประเทศด้วยตนเอง ทีมผู้บุกเบิกได้เริ่มกิจกรรมการสอน Satir Model ใน พศ. 2547 และมีความคิดริเริ่มในการจัดตั้งสมาคมขึ้นจากการดูตัวอย่างขององค์กร Satir ในประเทศฮ่องกงและได้จดทะเบียนจัดตั้งสมาคมในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 และจดทะเบียนเป็นสมาคมสำเร็จในวันที่ 4 กรกฎาคม 2548 โดยมีนายกสมาคมท่านแรกคือ ศ. พญ. นงพงา ลิ้มสุวรรณ และมีรายนามกรรมการจัดตั้งซึ่งทำหน้าที่ในช่วง พ.ศ. 2547 – 2553 คือ

1. ศ. พญ.นงพงา ลิ้มสุวรรณ นายกสมาคม
2. พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์ อุปนายก
3. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์ กรรมการ
4. นพ. วีรพล อุณหรัศมี กรรมการและปฏิคม
5. พญ. ปริชวัน จันทร์ศิริ กรรมการและประชาสัมพันธ์
6. นางสาว สุจิตรา อุสาหะ กรรมการและนายทะเบียน
7. รศ.พญ. สุวรรณี พุทธิศรี กรรมการและเหรัญญิก
8. ภญ. ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา กรรมการและเลขานุการ

หลังจากนั้น ทางสมาคมได้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขในการเชิญอาจารย์ Dr. John Banmen และอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen โดย กิจกรรมหลักคือการอบรมนักบำบัดแบบ Satir Systemic Transformational Therapy รวมเวลาคอร์สละ 3 ปี (6 phases) รวม 2 รุ่น และการอบรมนักบำบัดแบบ Satir Systemic Transformational Therapy รวมเวลาคอร์สละ 2 ปีอีก 2 รุ่น มีการสอบเพื่อรับรองมาตรฐานการบำบัด 3 ครั้ง มีผู้สอบผ่านแล้วรวมทั้งหมด 34 ท่าน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการเชิญอาจารย์ชาวต่างชาติที่ทำงานเกี่ยวกับ Satir Model มาสอนและกิจกรรมที่วิทยากรไทยสอนอย่างต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน

ผู้ดำรงตำแหน่งนายกสมาคม มีดังนี้

1. ศ. พญ.นงพงา ลิ้มสุวรรณ ดำรงตำแหน่ง พศ. 2548 – 2553
2. พญ. สมรัก ชูวาณิชวงศ์ ดำรงตำแหน่ง พศ. 2553 – 2560
3. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์ ดำรงตำแหน่ง พศ. 2560 – 2562

กรรมการสมาคมชุดที่ 2 ทำหน้าที่ในช่วงปีพศ. 2553 – 2560 คือ

1. ศ.พญ.นงพงา ลิ้มสุวรรณ ที่ปรึกษา
2. พญ. สมรัก ชูวานิชวงศ์ นายกสมาคม
3. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์ อุปนายก
4. รศ.พญ. รัตนา สายพานิชย์ กรรมการวิชาการ
5. รศ.พญ. สุวรรณี พุทธิศรี กรรมการวิชาการ
6. พญ. ปริชวัน จันทร์ศิริ กรรมการวิชาการ
7. รศ.พญ. นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล กรรมการวิชาการ
8. ศ.พญ. สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล กรรมการวิชาการ
9. พญ. กุสุมาวดี คำเกลี้ยง กรรมการและนายทะเบียน
10. นางทัศนีย์ ตันทวีวงศ์ กรรมการและเหรัญญิก
11. ภญ. ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา กรรมการและเลขาธิการ
12. พญ. รักสุดา กิจอรุณชัย กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ

กรรมการสมาคมชุดปัจจุบันทำหน้าที่ในช่วงปีพศ. 2561 – 2562 คือ

1. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์ นายกสมาคม
2. ภญ. ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา อุปนายก
3. รศ.นพ. พิชัย อิฏฐสกุล กรรมการและเลขานุการ
4. ผศ.(พิเศษ)พญ. ปราณี เมืองน้อย กรรมการและเหรัญญิก
5. นพ. ภุชงค์ เหล่ารุจิรสวัสดิ์ กรรมการและปฏิคม
6. รศ.พญ. รัตนา สายพานิชย์ กรรมการและนายทะเบียน
7. นพ. ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล กรรมการและประชาสัมพันธ์

หมายเหตุ

มีคณะกรรมการอีก 1 ชุดที่ทำงานในช่วง พ.ศ. 2557 – 2560 โดยมี พญ. สมรัก ชูวานิชวงศ์ เป็นนายกสมาคมฯ แต่ไม่มีเอกสารบันทึกรายนามกรรมการสมาคมฯ กิจกรรมของสมาคมฯ

การอบรม Satir Systemic Transformational Therapy

รุ่นที่ 1 เป็นการจัดอบรมซึ่งเจ้าภาพคือกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับรพ.ศรีธัญญา ในช่วงเดือนกพฤษภาคม 2549 – พฤศจิกายน 2551 รวมระยะเวลา 3 ปี สอนโดยอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen 4 ระยะ และโดย อาจารย์ Dr. John Banmen 2 ระยะ มี supervisor คือกลุ่มแกนหลักของสมาคม โดยมีการสอบวัดมาตรฐานในวันที่ 30 เมษายยน - 4 พฤษภาคม 2552 มีผู้ผ่านการสอบคือ

1. ศ.เกียรติคุณ พญ. นงพงา ลิ้มสุวรรณ
2. รศ.นพ. ณรงค์ สุภัทรพันธ์
3. นางทัศนีย์ ตันทวีวงศ์
4. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์
5. รศ.พญ. สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล
6. พญ. สมรัก ชูวานิชวงศ์
7. รศ.พญ. รัตนา สายพานิชย์
8. รศ.พญ. สุวรรณี พุทธิศรี
9. รศ.พญ. ศิริรัตน์ คุปติวุฒิ
10. รศ.พญ. นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล
11. พญ. ปริชวัน จันทร์ศิริ
12. ภญ. ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา
13. พญ. รักสุดา กิจอรุณชัย
14. พญ. กุสุมาวดี คำเกลี้ยง
15. รศ.นพ. พิชัย อิฏฐสกุล
16. ดร.สดใส คุ้มทรัพย์อนันต์
17. นางสาวสุจิตรา อุสาหะ
18. นางสกาวรัตน์ พวงลัดดา
19. นางเยาวนาถ สุวลักษณ์
20. นางสุนทรี ศรีโกไสย
21. นางสาวพัชรินทร์ อรุณเรือง

รุ่นที่ 2 เป็นการจัดอบรมซึ่งเจ้าภาพคือกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับรพ.ศรีธัญญา และสมาคมฯ ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2552 - พฤศจิกายน 2555 รวมระยะเวลา 3 1/2 ปี (ขยายเวลาเนื่องจากมีมหาอุทกภัยในพ.ศ. 2554) สอนโดยอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen 5 ระยะ และโดย อาจารย์ Dr. John Banmen 1 ระยะมี supervisor คือกลุ่มอาจารย์แกนหลักที่สอบผ่านเมื่อรุ่นที่ 1 สำหรับรุ่นที่ 2 มีการสอบวัดมาตรฐานในวันที่ 7-9 พฤศจิกายน 2555 มีผู้ผ่านการสอบคือ

1. ผศ.(พิเศษ)พญ. ปราณี เมืองน้อย
2. พญ. เกษศิริ เหลี่ยมวานิช
3. พญ. ธัญญา ลีลาศิริวงศ์
4. พญ. แพรว ไตลังคะ
5. นางสาวพยงค์ศรี ขันธิกุล
6. นางสาวณัฐกมล โชติพฤกษ์
7. นางสาวสุภาวดี ธัมมะรักขิต

รุ่นที่ 3 เป็นการจัดโดยสมาคมฯเป็นสถาบันหลัก ฯ ในช่วงเดือน พฤษภาคม 2556 - พฤศจิกายน 2558 รวมระยะเวลา 2 ปี สอนโดยอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen ทั้งหมด supervisor คือกลุ่มอาจารย์แกนหลักที่สอบผ่านเมื่อรุ่นที่ 1 และ 2 สอบวัดมาตรฐานครั้งที่ 3/1 ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2559 มีผู้ผ่านการสอบคือ

1. พญ. ลีลาวดี พินิจไพฑูรย์
2. นายชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ

สอบวัดมาตรฐานครั้งที่ 3/2 ในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2559 มีผู้ผ่านการสอบคือ

1. พญ. โชติมา ครบตระกูลชัย
2. นพ. ณัฐ ไกรภัสสร์พงษ์
3. นางสาวธรรมนนท์ กิจติเวชกุล

สอบวัดมาตรฐานครั้งที่ 3/3 ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2560 มีผู้ผ่านการสอบคือ

1. นางกานดา ผาวงศ์
2. นางลัดดาวัลย์ ธีรภาพชัยศรี

รุ่นที่ 4 เป็นการจัดโดยสมาคมฯเป็นสถาบันหลัก ฯ ในช่วงเดือน พฤษภาคม 2559 - พฤศจิกายน 2560 รวมระยะเวลา 2 ปี สอนโดยอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen ทั้งหมด supervisor คือกลุ่มอาจารย์แกนหลักที่สอบผ่านเมื่อรุ่นที่ 1 และ 2 ยังไม่มีการสอบวัดมาตรฐานเนื่องจากอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen มีปัญหาสุขภาพจนไม่สามารถเดินทางมาประเทศไทยได้

รุ่นที่ 5 เป็นการจัดโดยสมาคมฯโดยวิทยากรไทยคือ พญ.ปริชวัน จันทร์ศิริ และ รศ.พญ.นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูลในช่วงเดือน ตุลาคม 2561 – กันยายน 2563 supervisor คือกลุ่มอาจารย์กลุ่มเดิมและมีการฝึก supervisor รุ่นใหม่อย่างเป็นกิจจะลักษณะด้วย การอบรม โดยวิทยากรชาวต่างชาติที่ไม่ใช่ STST อาจารย์ Dr. John Banmen และอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen ได้ให้ความกรุณามาสอนคอร์สพิเศษในประเทศไทย คือ อาจารย์ Kathlyne Maki Banmen ได้มาสอนการบำบัดรักษากรณีความรุนแรงในครอบครัวตามแนวซาเทียร์ ในปี 2556 และสอนการเยียวยาบาดแผลทางใจโดยใช้จิตบำบัดแนวซาเทียร์ ในพ.ศ. 2558 ส่วนอาจารย์ Dr. John Banmen ได้มาสอนการบำบัดสำหรับผู้ป่วยจิตเวชใน พ.ศ. 2557 ซึ่งครั้งนั้นทางสมาคมฯ ได้จัดงานงานมุฑิตาจิตให้กับอาจารย์ที่สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยาด้วย นอกจากนี้ อาจารย์ Kathlyne Maki Banmen ยังได้ให้ความกรุณามาสอน STST: Training for Trainers Program I และ II สำหรับกลุ่ม supervisor และผู้ที่ยังไม่ผ่านการสอบแต่มีแนวโน้มที่จะมีศักภาพในการสอบผ่านในพ.ศ. 2558 และ 2559

การที่สมาชิกของสมาคมได้ไปอบรมเกี่ยวกับ Satir Model ที่ต่างประเทศ ทำให้ทางสมาคมมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมวงการ Satir ชาวต่างชาติ จึงมีการเชิญวิทยากรเหล่านี้มาให้ความรู้ อบรม ในแขนงสาขาพิเศษของตนเอง คือ อาจารย์ Madeleine De Little ซึ่งมีความชำนาญในการใช้ Sand Tray Therapy ได้มาสอน Using Neuroscience and the Satir Model in the Sand Tray (NSST) ซึ่งมี level I และ II ในปี 2558 2560 2561 และ 2562 อาจารย์ Dr.Nitza Broide-Miller มาสอน Dance and Movement Transformational Therapy ในพ.ศ. 2560 อาจารย์ Angie Dairou มาสอนคอร์ส Destiny coaching และ Congruent leadership ในปี 2561 อาจารย์ Laura Sue Dodson และ อาจารย์ Moureen Graves มาสอนคอร์ส Inner Healer ในปี 2562 การอบรมโดยวิทยากรไทยให้กับองค์กรภายนอก

ในยุคเริ่มแรก สมาคมฯ จะรับงานสอนจากองค์กรภายนอกและจะมีตารางกลางเพื่อจัดวิทยากรไปสอนในการอบรมคอร์สต่างๆ โดยมีองค์กรต่างๆขอมาเช่น โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น (โครงการป้องกันการฆ่าตัวตาย)  โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา โรงพยาบาลระยอง ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย (สอนแพทย์ประจำบ้านจิตเวช) เสมสิกขาลัย (การแปรเปลี่ยนและเติบโตสู่ความมั่นคงภายในโดยใช้กระบวนการซาเทียร์โมเดล) เมื่อเวลาผ่านไป  วิทยากรแต่ละท่านมีภารกิจมากขึ้น ยากที่จะหาช่วงเวลาที่ตรงกันได้อีก สมาคมฯจึงไม่ได้รับเป็นวิทยากรให้องค์กรหรือหน่วยงานภายนอกอีก คงเหลือเพียงการอบรมให้กับแพทย์ประจำบ้านร่วมกับราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งสอนมาตั้งแต่พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน และการอบรมให้กับเสมสิกขาลัยซึงจัดอบรมมาตั้งแต่พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบัน ปัจจุบันการเป็นวิทยากรให้กับองค์กรภายนอกจะเป็นการติดต่อโดยตรงกับวิทยากรเป็นรายบุคคล การอบรมโดยวิทยากรไทยที่จัดโดยสมาคมฯ ทางสมาคมฯมีดำริที่จะจัดการอบรมให้คนไทยด้วยตนเองโดยเริ่มจากจัดอบรม Satir Therapy for Beginner Course เมื่อ 20 มีนาคม 2549 และ Advance Satir Therapy Course เมื่อ 21 – 24 สิงหาคม 2549 หลังจากนั้น ไม่ได้มีคอร์สอบรมการบำบัดที่จัดในนามสามคมฯโดยวิทยากรไทยอีกจนกระทั่งกรรมการสมาคมฯได้มีดำริในการจัดอบรมพื้นฐานการบำบัดตามแนว Satir เป็นภาษาไทย เนื่องจากมีความต้องการจากผู้เรียน จึงเริ่มจัดการอบรมแบ่งเป็นการอบรมการบำบัดให้กับบุคลากรสุขภาพจิตและการอบรมการให้คำปรึกษาสำหรับผู้ให้การช่วยเหลือทั่วไป โดยการอบรมบุคลากรทางสุขภาพจิตวิทยากรคือ ผศ.พญ.วรลักษณา ธีราโมกข์ รศ.พญ.รัตนา สายพานิชย์ ผศ.นพ.พิชัย อิฏฐสกุล เรื่อง How to apply Satir model in daily clinical practice ในวันที่ 16-18 สิงหาคม 2560, Satir in clinical daily practice series : How to help patients with addiction ในวันที่ 26-28กันยายน 2561, Satir for psychological trauma ในวันที่ 27-29 มีนาคม 2562, Basic Satir therapy วันที่ 28-31 สิงหาคม 2562 และ Basic Satir therapy for Medical Professionals วันที่ 19 - 22 ตุลาคม 2562 สำหรับการอบรมให้แก่ผู้ช่วยเหลือทั่วไปวิทยากรคือ นพ.ภุชงค์ เหล่ารุจิสวัสดิ์ และ ภญ.ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา เรื่อง ภูเขาน้ำแข็งแห่งตน: workshop ขั้นต้น

เพื่อเข้าใจโลกภายใน สู่ภายนอก วันที่ 15-18 พฤศจิกายน 2561, ภูเขาน้ำแข็งแห่งโค้ช : workshop

เพื่อนำทางความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่ขัดแย้ง วันที่ 14-17 กุมภาพันธ์ 2562, Basic Satir Couseling วันที่ 2-5

สิงหาคม 2562

อนึ่ง จะสังเกตว่าสมาคมฯ มีการแยกกลุ่มผู้เรียนระหว่างบุคลากรสุขภาพจิตและผู้ให้การช่วยเหลือทั่วไป

เนื่องจากความห่วงใยในข้อกฎหมาย คือ

แม้ในประเทศไทยจะยังไม่มีข้อกฎหมายในการจำกัดวิชาชีพในการบำบัดชัดเจน แต่การใช้คำว่าบำบัด (therapy)

มีนัยของการรักษาผู้ป่วย

ดังนั้นผู้ทำการบำบัดจึงควรมีใบประกอบวิชาชีพที่ใช้ได้กับกฎหมายไทยซึ่งมีสถาบันทางวิชาชีพรองรับเช่น แพทย์

พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ เพื่อไม่ให้เกิดข้อขัดแย้งทางกฎหมายที่อาจจะมีในอนาคต

ทางสมาคมฯจึงเลี่ยงที่จะใช้คำว่าบำบัดกับผู้ให้การช่วยเหลือทั่วไปโดยจะใช้คำว่าการให้คำปรึกษา (counseling)

แม้ว่าระดับของการช่วยเหลืออาจจะสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง(transformational change)

ได้เช่นเดียวกัน

Supervisor ของสมาคมฯ

สมาคมได้ทำการฝึกอบรม supervisor โดยอาจารย์ Dr. John Banmen และอาจารย์ Kathlyne Maki Banmen

จะใช้เวลา 1 วันก่อนเริ่มการอบรมSTST ในการฝึกสอน supervisor ทุกครั้ง ผู้ที่เคยทำหน้าที่ Supervisor

ของสมาคมฯ ในหลักสูตร STST มีรายนามดังนี้

1. ศ.เกียรติคุณ พญ. นงพงา ลิ้มสุวรรณ

2. รศ.นพ. ณรงค์ สุภัทรพันธ์

3. นางทัศนีย์ ตันทวีวงศ์

4. ผศ.พญ. วรลักษณา ธีราโมกข์

5. ศ.พญ. สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล

6. พญ. สมรัก ชูวานิชวงศ์

7. รศ.พญ. รัตนา สายพานิชย์

8. รศ.พญ. สุวรรณี พุทธิศรี

9. รศ.พญ. ศิริรัตน์ คุปติวุฒิ

10. รศ.พญ. นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล

11. พญ. ปริชวัน จันทร์ศิริ

12. ภญ. ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา

13. นางสาว สุจิตรา อุสาหะ

14. นพ. วีรพล อุณหรัศมี

15. นพ. อนันต์ ธนาประเสริฐกรณ์

16. รศ.นพ. มนัท สูงประสิทธิ์

17. พญ. รักสุดา กิจอรุณชัย

18. รศ.นพ. พิชัย อิฏฐสกุล

19. พญ. กุสุมาวดี คำเกลี้ยง

20. ผศ.(พิเศษ)พญ. ปราณี เมืองน้อย

21. ดร. สดใส คุ้มทรัพย์อนันต์

22. พญ. เกษศิริ เหลี่ยมวานิช

23. พญ. แพรว ไตลังคะ

24. นางสาวพยงค์ศรี ขันธิกุล

25. นายชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ

26. พญ. โชติมา ครบตระกูลชัย

ขณะนี้ สมาคมฯกำลังฝึก supervisor รุ่นใหม่ เพื่อเป็นกำลังสำคัญมาทดแทนคนรุ่นเก่า

โดยมีหลักสูตรการฝึกอบรมและการประเมินชัดเจน กลุ่ม supervisor รุ่นใหม่ คือ

1. พญ. ธัญญา ลีลาศิริวงศ์

2. นพ. ณัฐ ไกรภัสสร์พงษ์

3. นางกานดา ผาวงศ์

4. นางลัดดาวัลย์ ธีรภาพชัยศรี

การจัด Satir conference

ทางสมาคมฯเคยมีดำริในการจัดการประชุมวิชาการ Satir Conference ในพ.ศ. 2557

แต่เกิดความไม่สะดวกจึงไม่สามารถจัดได้ และได้จัด Satir Conference ครั้งแรกในวันที่ 22 -23 พ.ย. 2562

โดยแนวคิดหลักของการประชุมคือ “Connect within, Connect between, Connect amongst” มีกิจกรรม

mini workshop และการอภิปราย รวมทั้งการประชุมสมาคมฯ และการรับรองคณะทำงานชุดใหม่

สำหรับกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ เป็นดังตารางนี้

การอบรมโดย Dr. John Banmen และ Kathlyne Maki Banmen

เดือน/ปี ชื่อการอบรม ผู้สอน

1-3 กันยายน 2543 Satir Systemic Brief Therapy Dr. John Banmen

7-10 มิถุนายน 2544 Satir Systemic Brief Therapy Dr. John Banmen

25-29 มิถุนายน 2545 Training of the Trainer Dr. John Banmen

11-15 ธันวาคม 2545 STST (Amari Airport Hotel) Dr. John Banmen

11-14 กุมภาพันธ์ 2547 STST Dr. John Banmen

1 -25 พฤษภาคม 2548 Advance Counseling Practicum 2005 Using

Satir Model (for Trainer of the Therapist)

โรงแรมแอมบาสซาเดอร์

Dr. John Banmen

Kathlyne Maki

Banmen

1-5 ตุลาคม 2548 STST for PTSD Kathlyne Maki

Banmen

13-17 พฤษภาคม 2549 Phase I 3 years

training

program

STST

2549-

2552 (รุ่นที่

1)

Dr. John Banmen

Kathlyne Maki

Banmen

6-10 พฤศจิกายน 2549 Phase II

7-12 มิถุนายน 2550 Phase III

9-14 พฤศจิกายน 2550 Phase IV

7-12 พฤษภาคม 2551 Phase V

13-19

พฤศจิกายน2551

Phase VI

30 เมษายยน - 4

พฤษภาคม 2552

สอบครั้งที่ 1

7-11 พฤษภาคม 2552 Phase I 3 and half

years

therapy

training

program

STST (รุ่นที่

2)

Dr. John Banmen

(Couple Therapy)

Kathlyne Maki

Banmen

14-18 พย 52 Phase II

18 -23 สิงหาคม 2553 Phase III

6-10 พฤษภาคม 2554 Phase IV

18-23เมย 55 Phase V

1-6พย 55 Phase VI

7-9 พฤศจิกายน 2555 สอบครั้งที่ 2

9-13 กันยายน 2556 Working with family violence by using

STST

การบำบัดรักษากรณีความรุนแรงในครอบครัวตาม

แนวซาเทียร์ (ห้องแสงสิงแก้ว รพ.ศรีธัญญา)

Kathlyne Maki

Banmen

15-20 พฤศจิกายน

2556

level I part I (โรงแรมราชาวดีรีสอร์ท

จ.ขอนแก่น)

STST two

year

training

program

(รุ่นที่ 3)

Kathlyne Maki

Banmen

27 เมษายน - 1

พฤษภาคม 57

level I part II (รพ.ศรีธัญญา)

29 เมษายน - 3

พฤษภาคม 58

level II part I (รพ.ศรีธัญญา)

5-8 กันยายน 2558 level II phase II

(สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา)

4-9 พฤศจิกายน 57 การบำบัดสำหรับผู้ป่วยจิตเวชพร้อมงานมุฑิตาจิต

สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Dr. John Banmen

16-20

พฤศจิกายน2558

การเยียวยาบาดแผลทางใจโดยใช้จิตบำบัดแนวซาเ

ทียร์ Using Satir Transformational Systemic

Therapy in treating psychological trauma

(สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา)

Kathlyne Maki

Banmen

10-14 พฤศจิกายน

2558

STST: Training for Trainers Program I (the

Grace Amphawa)

Training

for

Trainers

Kathlyne Maki

Banmen

1- 5 พฤศจิกายน 2559 STST: Training for Trainers Program II

(บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม)

12 พฤศจิกายน 2559 สอบครั้งที่ 3

17- 21 พฤษภาคม

2559

level I phase I (บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม) STST two

year

training

programพ

ฤษภาคม

2559

–พฤศจิกาย

น 2560

(รุ่นที่ 4)

Kathlyne Maki

Banmen

7-11 พฤศจิกายน 2559 level I phase

II(สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา)

24-28 เมษายน 2560 level II phase I (บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม) Kathlyne Maki

Banmen

20-24 พฤศจิกายน

2560

level II phase II (รอยัล เจมส์ กอล์ฟรีสอร์ท จ.

นครปฐม )

Kathlyne Maki

Banmen

การอบรมโดยวิทยากรต่างประเทศท่านอื่น

21-25 กรกฎาคม 2558 Introduction to Using Neuroscience and

the Satir Model in the Sand Tray (NSST)

level 1 สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Madeleine De

Little

5-9 กุมภาพันธ์ 2560 NSST level 1 รุ่นที่ 2

สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Madeleine De

Little

21-25 กันยายน 2560 Dance and Movement Transformational

Therapy สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

(รพ.เด็ก)

Dr.Nitza Broide-

Miller

4-7 กุมภาพันธ์ 2561 NSST level 1 รุ่นที่ 3

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (รพ.เด็ก)

Madeleine De

Little

9-11 กุมภาพันธ์.2561 NSST level 2 รุ่นที่ 1 : Working With Families

using the Sand Tray

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (รพ.เด็ก)

Madeleine De

Little

11-14 มีนาคม 2561 Destiny coaching

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (รพ.เด็ก)

Angie Dairou

16-18 มีนาคม 2561 Congruent leadership โรงแรมสุโกศล กทม. Angie Dairou

2-5 กุมภาพันธ์ 2562 NSST level 1 รุ่นที่ 4

จัดที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

(รพ.เด็ก)

Dr.Madeleine De

Little Ph.D+

ทีมวิทยากรไทย

7-10 กุมภาพันธ์ 2562 NSST level 2 รุ่นที่ 2 How to transform the

defences, Shame and Trauma?

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (รพ.เด็ก)

Dr.Madeleine De

Little Ph.D

5-6 มิถุนายน 2562 Inner Healer สำหรับนักวิชาชีพ โรงแรม รามาดา

พลาซ่า แม่น้ำ ริเวอร์ไซด์

ร่วมจัดกับส

มาคมแพทย์

เวชปฏิบัติทั่

วไป/เวชศา

Laura Sue Dodson

และ Moureen

Graves 12-16 มิถุนายน 2562 Inner Healer สำหรับบุคคลทั่วไป โรงแรม

รามาดา พลาซ่า แม่น้ำ ริเวอร์ไซด์

สตร์ครอบค

รัวแห่งประเ

ทศไทยและเ

ครือข่ายเพื่อ

นใจ

การอบรมโดยวิทยากรไทย

20 มีนาคม 2549 Satir Therapy for Beginner Course ทีมวิทยากรไทย

21 – 24 สิงหาคม 2549 Advance Satir Therapy Course ทีมวิทยากรไทย

16-18 สิงหาคม 2560 How to apply Satir model in daily clinical

practice บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม

ผศ.พญ.วรลักษณา

ธีราโมกข์

รศ.พญ.รัตนา

สายพานิชย์

ผศ.นพ.พิชัย ดิฏฐสกุล

26-28กันยายน 2561 Satir in clinical daily practice series : How

to help patients with addiction บ้านผู้หว่าน

จ.นครปฐม บ้านผู้หว่าน นครปฐม

ผศ.พญ.วรลักษณา

ธีราโมกข์

รศ.พญ.รัตนา

สายพานิชย์

ผศ.นพ.พิชัย ดิฏฐสกุล

15-18 พฤศจิกายน

2561

ภูเขาน้ำแข็งแห่งตน: workshop ขั้นต้นเพื่อเข้าใจโลกภายใน สู่ภายนอก

นพ.ภุชงค์ เหล่ารุจิสวัสดิ์ และ ภญ.ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา

14-17 กุมภาพันธ์ 2562 ภูเขาน้ำแข็งแห่งโค้ช : workshop

เพื่อนำทางความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่ขัดแย้ง

จัดที่สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

นพ.ภุชงค์ เหล่ารุจิสวัสดิ์ และ ภญ.ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา

27-29 มีนาคม 2562 Satir for psychological trauma บ้านผู้หว่าน นครปฐม

พญ.วรลักษณา ธีราโมกข์
พญ.รัตนา สายพานิชย์
นพ.พิชัย อิฎฐสกุล

2-5 สิงหาคม 2562 Basic Satir Couseling

สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา กทม.

ภญ.ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา

นพ.ภุชงค์ เหล่ารุจิระสวัสดิ์

28-31 สิงหาคม 2562 Basic Satir therapy บ้านผู้หว่าน นครปฐม พญ.วรลักษณา ธีราโมกข์ พญ.รัตนา สายพานิชย์ นพ.พิชัย อิฎฐสกุล

19 - 22 ตุลาคม 2562 Basic Satir therapy for Medical Professionals บ้านผู้หว่าน นครปฐม

พญ.วรลักษณา ธีราโมกข์
พญ.รัตนา สายพานิชย์
นพ.พิชัย อิฎฐสกุล

การอบรม STST และ Supervisor training โดยวิทยากรไทย

29 ต.ค.-2 พฤศจิกายน 2561

STST level 1 phase 1 รพ.จุฬา ฯ รุ่น 5 หลักสูตร 2 ปี 2561 - 2563ภาษาไทยรุ่นแรก  (รุ่นที่ 5)

พญ.ปริชวัน จันทร์ศิริ และ รศ.พญ.นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล

19 กุมภาพันธ์ 2562 Supervisor training I รพ.จุฬา ฯ

28 เมษายน 2562 Supervisor training II บ้านผู้หว่านนครปฐม

29 เมษายน - 3พฤษภาคม 62

STST level 1 phase 2 บ้านผู้หว่านนครปฐม

24 มีนาคม 2563 Supervisor training III

25-29 มีนาคม 2563 STST level 1 phase 2

22 มีนาคม 2563 Supervisor training IV

23-27 กันยายน 2563 STST level 1 phase 2 Conference

22-23 พฤศจิกายน 2562

The first Satir conference (Thailand) : Connect within, Connect between, and Connect amongst รพ.สมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กทม. เรียบเรียงโดย รศ. พญ. นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล ธันวาคม 2562

เอกสารอ้างอิง

1. นงพงา ลิ้มสุวรรณ, นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล และสุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล. Satir Model. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทยม ปีที่ 52 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2550 ) หน้า 1-7.

2. สมรัก ชูวานิชวงศ์. เข็มบ่งเสี้ยน. สมาคมสายใยครอบครัว.2557.

3. เอกสารและวิดีทัศน์ประกอบการอบรมโดย Dr. John Banmen และ Kathlyne Maki Banmen พศ. 2543 – 2560

4. บันทึกการประชุมและเอกสารต่าง ๆ ของสมาคมพัฒนาศักยภาพมนุษย์และจิตบำบัดแนวซาเทียร์